Home
Flashcards
Preview
แพ่ง บรรพ6 มรดก 1/1
The flashcards below were created by user
Garnlawyer
on
FreezingBlue Flashcards
.
Home
Mobile
Quiz
มรดกตกทอดแก่ทายาท
ม.1599
ตาย มรดกตกแก่ทายาท
ทายาทอาจเสียสิทธิรับมรดก
ทรัพย์สินที่เป็นกองมรดก
ม.1600
ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดจนสิทธิ หน้าที่ ความรับผิด
เว้นแต่ตาม กม. เป็นการเฉพาะตัว
ถูกจำกัดมิให้รับมรดก
ม.1605
ยักย้ายปิดบัง เท่าส่วน/กว่าส่วน โดยฉ้อฉล รู้อยู่ว่าทำให้เสื่อมประโยชน์ทายาทอื่น -จำกัดมิให้รับมรดกเลย
น้อยกว่าส่วนที่จะได้รับ - ถูกจำกัดเฉพาะส่วนที่ยักย้ายปิดบัง
ม. นี้ไม่ใช้กับผู้รับพินัยกรรม ซึ่งผู้ตายยกทรัพย์เฉพาะสิ่งให้
ถูกจำกัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
ม.1606
1.ต้องคำ พพษ ถึงที่สุดว่า เจตนา พยายาม ทำให้เจ้ามรดกหรือผู้มีสิทธิได้รับมรดกก่อนตน ตายโดยมิชอบ
2. ฟ้องเจ้ามรดกว่าทำผิดโทษประหาร และตนกลับต้องคำพิพากษาว่าผิดฐานฟ้องเท็จ ทำพยานเท็จ
3.รู้ว่าเจ้ามรดกถูกฆ่าโดยเจตนา แต่มิได้ร้องเรียน
ไม่ใช้บังคับกับ 16, วิกล, สามีภริยา....
4. ฉ้อฉล ข่มขู่ให้เจ้ามรดก ทำ เพิกถอน ปป พินัยกรรม เกี่ยวกับทรัพย์มรดก
5 ปลอม ทำลาย ปิดบัง พินัยกรรม
เจ้ามรดกให้อภัยเป็น ลายลักษณ์ได้
ถูกจำกัดมิให้รับมรดกเป็นการเฉพาะตัว
ม.1607
การจำกัดเป็นการเฉพาะตัว ผู้สืบสันดานสืบมรดกได้
ตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก
ม.1608
เจ้ามรดก ตัดทายาทโดยธรรม โดยชัดแจ้ง
1. โดยพินัยกรรม
2. ทำเป็น นส มอบแก่เจ้าหน้าที่
ตัวทายาทผู้ถูกตัดต้องระบุให้ชัด
เจ้ามรดกทำพินัยกรรม จำหน่ายทรัพย์มรดกทั้งหมด ให้ถือว่าทายาทที่ไม่ได้รับประโยชน์จากพินัยกรรม เป็นผู้ถูกตัดมิให้รับมรดก
แสดงเจตนาสละมรดก
ม. 1612
สละมรดก
แสดงเจตนาชัดแจ้งเป็น นส มอบแก่เจ้าหน้าที่/ ทำสัญญาประนี
ผู้ตายไม่ได้ทำพินัยกรรม/ทำไว้ไม่เป็นผล
ม.1620
มรดกตกแก่ทายาท
ผู้ตายทำพินัยกรรมไว้ แต่พินัยกรรมนั้นจำหน่ายทรัพย์/มีผล บางส่วน ให้ส่วนที่มิได้จำหน่ายหรือส่วนที่ไม่มีผล แก่ทายาทโดยธรรม
พระภิกษุในฐานะทายาทโดยธรรม
ม.1622
พระจะเรียกเอาทรัพย์มรดกในฐานะทายาทโดยธรรมไม่ได้ ต้องสึกก่อน
อาจเป็นผู้รับพินัยกรรมได้
ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน
ม.1627
นอกกฎหมายบิดารับรองแล้ว และบุตรบุญธรรม ถือว่าเป็นผู้สืบสันดาน เหมือนบุตรโดยชอบ
ลำดับทายาทโดยธรรม
ม.1629
ทายาทโดยธรรมมี 6 ลำดับ
1.ผู้สืบ
2.บิดา มารดา
3.พี่น้องร่วมบิดามารดา
4.พี่น้องร่วมบิดาหรือมารดา
5ปู่ย่าตายาย
6ลุงป้าน้าอา
คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ เป็นทายาทภายใต้ ม.1635
การแบ่งมรดก
ม.1632
การแบ่งมรดกของทายาทโดยธรรมในลำดับญาติให้เป็นไปตามส่วนนี้
ส่วนแบ่งระหว่างทายาทในลำดับเดียวกัน
ม.1633
ทายาทโดยธรรมตาม ม. 1629 ลำดับเดียวกันได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน ถ้ามีคนเดียวได้รับทั้งหมด
ลำดับและส่วนแบ่งของคู่สมรสที่ยังมีชีวิต
ม.1635
1.ถ้า ม.1629(1) ยังมีชีวิต/มีผู้รับมรดกแทนที่ /คู่สมรส ได้รับเสมือนเป็นทายาทชั้นบุตร
2.ถ้ามี ม.1629(3) และยังมีชีวิต/ มีผู้รับแทนที่ หรือไม่มี (1) แต่มี (2) คู่สมรสได้รับกึ่งหนึ่ง
3.ถ้ามี ม.1629(4)/ (6) หรือถ้ามี (5) คู่สมรสได้ 2/3ส่วน
4. ถ้าไม่มี 1629 คู่สมรสได้ทั้งหมด
ผู้สืบสันดานเข้ารับมรดกแทนที่
ม.1639
บุคคลตาม 1629 (1 (3) (4) (6) ตาย/ถูกกำจัดก่อนเจ้ามรดกตาย ถ้าผู้นั้นมีผู้สืบสันดาน ให้ผู้สืบสันดานรับมรดกแทนที่
ถ้าผู้สืบสันดานตาย ถูกกำจัดเช่นกัน ให้ผู้สืบของผู้สืบ ต่อไปจนหมดสาย
การแสดงเจตนาโดยพินัยกรรม
ม.1646
แสดงเจตนาโดยพินัยกรรมเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตน/การต่างๆ อันให้เกิดผลบังคับได้เมื่อตาย
การจัดการศพเจ้ามรดก
ม.1649
ผู้จัดการมรดกซึ่งผู้ตายตั้ง มีอำนาจหน้าที่จัดการศพ เว้นแต่ผู้ตายตั้งผู้อื่นไว้โดยเฉพาะ
ผู้ตายมิได้ตั้งผู้จัดการ/บุคคลใดไว้จัดการงานศพ/ทายาทมิได้มอบหมายบุคคลใด - ผู้รับมรดกโดยพินัยกรรมหรือโดยธรรมมากที่สุด เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่จัดการทำศพ
เว้นแต่ศาลเห็นสมควรตั้งผู้อื่น ในเมื่อผู้มีส่วนได้เสียร้องขอ
ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรม
ม.1653
ผู้เขียนหรือพยานในพินัยกรรม จะเป็นผู้รับทรัพย์ตามพินัยกรรมไม่ได้
ใช้บังคับแก่คู่สมรสของผู้เขียน/พยานในพินัยกรรมด้วย
เจ้าหน้าที่ซึ่งได้จดข้อความแห่งพินัยกรรม ให้ถือว่าเป็นผู้เขียน
พินัยกรรมแบบธรรมดา
ม.1656
พินัยกรรมแบบธรรมดา ต้องทำเป็น นส ลงวดป ที่ทำขึ้น ลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คน พยานลงลายมือชื่อรับรองขณะนั้น
การลบ เติม แก้ไข ปป ย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ได้ปฎิบัติตามแบบเดียวกับการทำ
พินัยกรรมแบบเขียนเอง
ม.1657
แบบเขียนเองทั้งฉบับ ผู้ทำเขียนด้วยลายมือตนเอง ซึ่งข้อความทั้งหมด วดป ลงลายมือชื่อ
การขูดลบตกเติม......
ไม่ใช้ ม.9 แก่พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ
วิธีเพิกถอนพินัยกรรม
ม.1695
พินัยกรรมมีต้นฉบับฉบับเดียว ผู้ทำอาจเพิกถอนพินัยกรรมทั้งหมด/บางส่วน - โดยทำลายหรือขีดฆ่าด้วยความตั้งใจ
พินัยกรรมทำต้นฉบับหลายฉบับ การเพิกถอนไม่สมบูรณ์เว้นแต่ได้ทำแก่ต้นฉบับทั้งหมด
กรณีข้อกำหนดพินัยกรรมตกไป
ม.1698
1.ผู้รับตายก่อนผู้ทำ
2.พินัยกรรมีเงื่อนไข ผู้รับตายก่อนเงื่อนไขสำเร็จ / ปรากฎแน่นอนว่าเงื่อนไขไม่อาจสำเร็จได้
3.ผู้รับบอกสละพินัยกรรม
4.ทรัพย์สินทั้งหมด สูญหาย ทำลาย ถุกทำลาย โดยผู้ทำพินัยกรรมไม่ได้ตั้งใจในระหว่างที่ตนยังมีชีวิตและมิได้ได้มาซึ่งของแทน/สิทธิที่จะเรียกค่าตอบแทน
พินัยกรรม/ข้อกำหนดเกี่ยวกับทรัพย์ไร้ผล
ม.1699
ทรัพย์สินนั้น ตกทอดแก่ทายาทโดยธรรม/แผ่นดิน
พินัยกรรมขัดกับกฎหมาย
ม.1705
พินัยกรรม/ข้อกำหนดพินัยกรรม ขัด 1652 1653 1656 1657 1658 1660 1661 1663 เป็นโมฆะ
ร้องขอให้ศาลตั้งผู้จัดการมรดก
ม.1713
ทายาท/ผู้มีส่วนได้เสีย/อัยการ - ร้องขอต่อศาลให้จัดตั้งผู้จัดการมรดกได้ดังนี้
2.มีเหตุขัดข้องในการจัดการทรัพย์มรดก/ในการแบ่งปันทรัพย์มรดก
วิธีแบ่งปันทรัพย์มรดก
ม.1750
อาจทำได้โดยทายาทต่างเข้าครอบครองเป็นส่วนสัด/ โดยการขายทรัพย์มรดกแล้วเอาเงินมาแบ่งปันกัน
การแบ่งปันมิได้ทำตามวรรคก่อน แต่ได้ทำเป็นสัญญาจะฟ้องร้องกันไม่ได้ เว้นแต่จะมีหลักฐานเป็น นส ลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด นำ ม. 800 802 มาใช้บังคับ
อายุความฟ้องคดีมรดก
ม.1754
ห้ามฟ้องคดีมรดก เมื่อพ้น 1 ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย/ทายาทโดยธรรมรู้หรือควรได้รู้ถึงความตาย
ฟ้องเรียกตามพินัยกรรม ห้ามฟ้องเมื่อพ้น 1 ปี นับแต่ผู้รับพินัยกรรมรู้ หรือควรรู้ถึงสิทธิที่มีอยู่ตามพินัยกรรม
ภายใต้ ม.193/27 เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องต่อเจ้ามรดกมีอายความยาวกว่า 1 ปี มิให้ฟ้องเมื่อพ้น 1 ปี นับแต่รู้/ควรรู้ถึงความตาย
ทั้งนี้ห้ามมิให้ฟ้องเมื่อพ้น 10 ปี นับแต่เจ้ามรดกตาย
บุคคลที่มีสิทธิยกอายุความ 1 ปีขึ้นสู้
ม. 1755
จะยกขึ้นสู้ได้แต่โดยบุคคลที่เป็นทายาท/ชอบที่จะใช้สิทธิของทายาท/ผู้จัดการมรดก
Author
Garnlawyer
ID
317753
Card Set
แพ่ง บรรพ6 มรดก 1/1
Description
แพ่ง บรรพ6 มรดก 1/1
Updated
2016-03-22T04:44:25Z
Show Answers
n
Home
Flashcards
Preview