-
ความสมบูรณ์ของการหมั้น
ม.1437
หมั้นสมบูรณ์, ฝ่ายชายมอบทรัพย์สินของหมั้นให้ฝ่ายหญิง เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น
ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่ฝ่ายหญิง
สินสอด ให้แก่บิดา มารดาฝ่ายหญิง เพื่อเป็นการตอบแทนที่หญิงยอมสมรส
ไม่มีการสมรสเพราะ เหตุสำคัญ พฤติการณ์ที่ฝ่ายหญิงต้องรับผิดชอบ ทำให้ชายไม่สมควรสมรส ฝ่ายชายเรียกสินสอดคืนได้
คืนของหมั้น ใช้ลาภมิควรได้
-
อายุการสมรส
เว้นแต่มีเหตุสมควร ศาลอาจอนุญาตก่อนได้
-
ห้ามสมรสในขณะที่ยังมีคู่สมรส
- ม.1452
- สมรสขณะตนมีคู่สมรสอยู่ไม่ได้
-
ความสมบูรณ์ของการสมรส
- ม.1457
- การสมรสมีได้ต่อเมื่อได้จดทะเบียนแล้ว
-
ความยินยอมของคู่สมรส
- ม.1458
- ช ญ ยินยอมเป็นสามีภริยากัน, แสดงโดยเปิดเผยต่อหน้านายทะเบียน, ให้นายทะเบียนบันทึกความยินยอมไว้
-
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ม.1461
อยู่กินกัน, อุปการะกัน
-
การบอกล้างสัญญาก่อนสมรส
- ม.1469
- สัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สิน ที่สามีภริยทำไว้ระหว่างเป็นสามี ภริยา, ฝ่ายใดบอกล้างก็ได้ ภายใน1ปี นับแต่วันขาดจากการเป็นสามีภริยากัน, ไม่กระทบถึงบุคคลภายนอกผู้กระทำการโดยสุจริต
-
สินส่วนตัว
ม.1471
สินส่วนตัวได้แก่
- 1 ฝ่ายใดมีอยู่ก่อนสมรส
- 2 เครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องมือเครื่องใช้ประกอบอาชีพ
- 3 ได้มาระหว่างสมรส โดยการทางมรดก ให้โดยเสน่หา
- 4 ของหมั้น
-
สินส่วนตัวเปลี่ยนเป็นทรัพย์สินอื่น
- ม.1472
- สินส่วนตัว ถ้าได้เปลี่ยนเป็นทรัพย์สินอื่น ก็ยังเป็นสินส่วนตัว
สินส่วนตัวถูกทำลายได้ทรัพย์มาทดแทน หรือได้เงิน ที่ได้มาแทนก็เป็นสินส่วนตัว
-
สินสมรส
ม.1474
- สินสมรสได้แก่
- 1ได้มาระหว่างสมรส
- 2 ได้มาระหว่างสมรสทางพินัยกรรม การให้เป็นหนังสือเมื่อระบุว่าเป็นสินสมรส
- 3 ดอกผลของสินส่วนตัว
สงสัยว่าทรัพย์ใดเป็นสินสมรสหรือไม่ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นสินสมรส
-
ทำพินัยกรรมยกสินสมรส
ม.1481
สามีภริยา ไม่มีอำนาจทำพินัยกรรมยกสินสมรสเกินส่วนของตนให้บุคคลใดได้
-
แยกสินสมรสโดยผลของกฎหมาย
ม.1491
ต้องคำพิพากษาให้ล้ม สินสมรสแยกกันโดยอำนาจของกฎหมายนับแต่ศาลพิพากษา
-
ได้ทรัพย์สินมาภายหลังแยกสินสมรส
ม.1492
- แยกสินสมรสแล้ว ส่วนที่แยกตกเป็นสินส่วนตัวของแต่ละฝ่าย, ทรัพย์สินที่ได้มาภายหลังไม่ให้ถือว่าเป็นสินสมรส แต่เป็นสินส่วนตัว
- สินสมรสที่ได้มาโดยพินัยกรรม การให้ เป็นหนังสือตาม 1474(2) ให้ตกเป็นสินส่วนตัวฝ่ายละครึ่ง
ดอกผลของสินส่วนตัวที่ได้มาภายหลังให้เป็นสินส่วนตัว
-
กรณีฝ่าฝืนเงื่อนไขการสมรส
ม.1495
ฝ่าฝืน ม.1449 1450 1452 1458 โมฆะ
-
โมฆะโดยคำพิพากษา
ม.1496
คำพิพากษาเท่านั้นที่แสดงว่า การสมรสฝ่าฝืน 1449 1450 1458 เป็นโมฆะ
- คู่สมรส บิดามารดา ผู้สืบสันดานผู้สมรส อาจร้องให้ศาล.....
- ถ้าไม่มีผู้มีส่วนได้เสียร้องขอ อัยการเป็นผู้ร้องขอ
-
กรณีร้องขอให้การสมรสเป็นโมฆะ
ม.1497
โมฆะตาม ม.1452 ผู้มีส่วนได้เสีย ร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าเป็นโมฆะก็ได้
-
ผลต่อทรัพย์สินกรณีการสมรสเป็นโมฆะ
ม.1498
สมรสเป็นโมฆะ ไม่เกิดความสัมพันธ์ทางทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
สมรสเป็นโมฆะ ทรัพย์สินที่ได้มา ก่อนหรือหลัง รวมทั้งดอกผลยังเป็นของฝ่ายนั้น บรรดาทรัพย์สินที่หาได้ร่วมกันให้แบ่งคนละครึ่ง เว้นแต่ศาลเห็นสมควร
-
ผลการสมรสเป็นโมฆะ คุ้มครองผู้สุจริต
ม.1499
โมฆะเพราะฝ่าฝืน 1449 1450 1458 ไม่ทำให้ช ญ ผู้สมรสโดยสุจริต เสื่อมสิทธิที่ได้มาเพราะการสมรส ก่อนศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดให้เป็นโมฆะ
ฝ่าฝืน 1452 ไม่ให้ให้ ช ญ สมรสโดยสุจริต เสื่อมสิทธิที่ได้มาเพราะการสมรส ก่อนที่รู้เหตุ..... แต่ไม่เกิดสิทธิรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรม
ฝ่าฝืน 1449 1450 1452 1458 คู่สมรสฝ่ายที่สุจริตมีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้ และจำหน่ายสินสมรสนั้น ทำให้ฝ่ายที่สมรสโดยสุจริตต้องยากจนลง
-
เหตุที่ทำให้การสมรสสิ้นสุด
ม.1501
- การสมรสสิ้นสุด
- ตาย หย่า ศาลพิพากษาให้เพิกถอน
-
เวลาที่การสมรสสิ้นสุด
ม.1502
การสมรสที่เป็นโมฆียะสิ้นสุดลงเมื่อ ศาลพิพากษาให้เพิกถอน
-
ผู้มีสิทธิขอให้เพิกถอน กรณีฝ่าฝืน ม.1448
ม.1504
ฝ่าฝืน 1448 ผู้มีส่วนได้เสียขอให้เพิกถอนได้ แต่บิดามารดา ผู้ปกครองที่ให้ความยินยอมแล้ว จะขอให้เพิกถอนไม่ได้
ถ้าศาลไม่ได้เพิกถอน ช ญ มีอายุตาม ม.1448 เมื่อ ญ ตั้งครรภ์ ให้ถือว่าการสมรส สมบูรณ์ ตั้งแต่เวลาสมรส
-
สมรสเพราะถูกกลฉ้อฉลให้สมรส
ม.1506
สมรสถูกกลฉ้อฉล โมฆียะ
ไม่เป็นโมฆียะ กรณีกลฉ้อฉลเกิดโดยบุคคลที่3 โดยคู่สมรสอีกฝ่ายไม่รู้ด้วย
สิทธิขอเพิกถอนระงับ เมื่อพ้น 90 วันนับแต่วันรู้ ควรรู้ หรือ 1ปี นับแต่สมรส
-
ผู้มีสิทธิขอเพิกถอนสมรสเพราะสำคัญผิด ฉ้อฉล ข่มขู่
ม.1508
สำคัญผิดตัว, ฉ้อฉล, ข่มขู่ เฉพาะคู่สมรสเท่านั้นขอเพิกถอนได้
ผู้มีสิทธิขอเพิกถอนเป็นคนไร้ ให้บุคคลที่อาจร้องขอให้เป็นคนไร้ ตาม ม.29 ขอเพิกถอนได้
-
ความสมบูรณ์ของการหย่าโดยความยินยอม
ม.1515
สมบูรณ์เมื่อได้จดทะเบียนหย่าแล้ว
-
แบ่งทรัพย์สินของสามี ภริยา ภายหลังหย่า
ม.1532
- หย่าแล้วให้แบ่งทรัพย์สิน
- ก หย่าโดยความยินยอม แบ่งตามที่มีอยู่ในเวลาจดทะเบียนการหย่า
- ข หย่าโดยคำพิพากษา คำพิพากษาส่วนที่บังคับทรัพย์สิน มีผลย้อนหลังไปถึงวันฟ้องหย่า
-
วิธีแบ่งสินสมรส
ม.1534
- สินสมรสที่คู่สมรสฝ่ายใด จำหน่ายไปเพื่อประโยชน์ตนฝ่ายเดียว เจตนาให้อีกฝ่ายเสียหาย มิได้รับความยินยอม จงใจทำลายทำให้สูญหาย
- ให้ถือว่าทรัพย์สินนั้นยังคงมีอยู่เพื่อจัดแบ่งสินสมรส ตาม ม.1533 และถ้าอีกฝ่ายได้ส่วนแบ่งไม่ครบตามที่ควรได้ ให้ฝ่ายที่จำหน่าย จงใจทำลาย ชดใช้จากสินสมรสส่วนของตนหรือสินส่วนตัว
-
สันนิษฐานว่าเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
ม.1536
เด็กเกิดจากหญิงขณะเป็นภรรยาชายหรือภายใน310 วัน นับแต่การสมรสสิ้นสุดลง สันนิษฐานว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้เป็นสามี/เคยเป็น
นำ ว.1 มาใช้บังคับแก่บุตรเกิดจากหญิง ก่อนมีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าการสมรสเป็นโมฆะ/ภายใน310วันนับแต่วันนั้น
-
เด็กเกิดจากหญิงที่ไม่ได้สมรสกับชาย
ม.1546
เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรส ให้ถือว่าเป็นบุตรโดยชอบของหญิงนั้น เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติเป็นอย่างอื่น
-
นิติกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้เยาว์
ม.1574
- นิติกรรมเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้เยาว์ต่อไปนี้ ผู้ใช้อำนาจปกครองจะกระทำมิได้ เว้นแต่ศาลอนุญาต
- 1ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก จำนอง ให้ เช่าซื้อ ซึ่งอสังฯ
2 ก่อตั้งทรัพยสิทธิในอสังหา
- 5 ให้เช่าอสังหา เกิน 3 ปี
- 7 ให้กู้ยืม
- 8 ให้โดยเสน่หา
- 12 ประนีประนอมยอมความ
-
ความยินยอมของคู่สมรส (เรื่องบุตรบุญธรรม)
ม.1598/25
ผู้จะรับ/ผู้จะเป็น ถ้ามีคู่สมรสต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรส กรณีไม่อาจให้ความยินยอม หรือไปจากภูมิลำเนาไม่พบกว่า 1 ปี ต้องร้องขอต่อศาลให้ศาลอนุญาตแทนการยินยอม
|
|