-
ทรัพยสิทธิ
- ม.1299
- ได้มาทางนิติกรรม, อสังหาและทรัพยสิทธิ, ไม่บริบูรณ์เว้นแต่ทำเป็น นส.และจด
ทางอื่นนอกจากนิติกรรม สิทธิของผู้ได้, ถ้ายังไม่จด จะ ปป ทางทะเบียนไม่ได้ มิให้ยกขึ้นต่อสู้บุคคลภายนอก ได้สิทธิ เสียค่าตอบแทน จดทะเบียนสิทธิ โดยสุจริต
-
ผู้อยู่ในฐานะจดทะเบียนได้ก่อน ขอให้เพิกถอนการจดทะเบียน
ม.1300
ถ้าจดทะเบียนโอนอสังฯ ทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสัง, เสียเปรียบแก่ผู้จดทะเบียนได้อยู่ก่อน, ผู้นั้นอาจเรียกให้เพิกถอนการจะทะเบียนนั้นได้
การโอนโดยเสียค่าตอบแทนและสุจริต เพิกถอนไม่ได้
-
บุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพย์เดียวกัน
ม.1303
โดยอาศัยกรรมสิทธิ์ต่างกัน, ทรัพย์อยู่ในความครอบครองของบุคคลใด บุคคลนั้นมีสิทธิดีกว่า, แต่ต้องได้ทรัพย์โดยมีค่าตอบแทน และจดทะเบียนโดยสุจริต
ไม่ใช้กับสังหาพิเศษ, ทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำผิด
-
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ม.1304
- ทรัพย์สินทุกชนิด, ใช้เพื่อสาธารณะประโยชน์ สงวนไว้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
- 1ที่ดินรกร้าง เวนคืน
- 2 พลเมืองใช้ร่วมกัน
- 3 ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ
-
การโอนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ม.1305
สาธารณสมบัติของแผ่นดินจะโอนกันมิได้
-
การยกอายุความขึ้นต่อสู้
ม.1306
ห้ามยกอายุความต่อสู้กับแผ่นดินในเรื่องสาธารณสมบัติ
-
ที่งอกริมตลิ่ง
ม. 1308
ที่ดินแปลงใดเกิดที่งอก ทีงอกเป็นของ....
-
สร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต
ม.1310
ในโดยสุจริต เจ้าของที่ดินเป็นเจ้าของโรงเรือน, ต้องใช้ราคาที่ดินที่เพิ่มขึ้นเพราะสร้างโรงเรือน
เจ้าของที่แสดงให้เห็นได้ว่า ไม่ประมาท บอกปัดไม่รับ เรียกให้รื้อถอนและทำที่ดินให้เป็นตามเดิม, เว้นแต่ทำไม่ได้โดยใช้เงินพอสมควร เรียกให้ซื้อที่ดิน
-
สร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริต
ม.1311
สร้างในที่คนอื่นโดยไม่สุจริต ทำที่ดินให้เป็นตามเดิมและส่งคืนเจ้าของ, เว้นแต่เจ้าของเลือกให้คืนตามที่เป็นอยู่ แต่ต้องใช้ค่าโรงเรือน ค่าที่ดินที่เพิ่มขึ้น
-
สร้างโรงเรือนรุกล้ำที่ดินของผู้อื่นโดยสุจริต
ม.1312
รุกล้ำโดยสุจริต, ผู้สร้างเป็นเจ้าของโรงเรือนแต่ต้องใช้ค่าที่ดินและเรียกให้จดทะเบียนสิทธิภาระจำยอม
ภายหลังโรงเรือนสลายหมด.....
รุกล้ำไม่สุจริต,เจ้าของที่ดินเรียกให้รื้อถอนและทำที่ดินให้เป็นตามเดิม, โดยผู้สร้างออกค่าใช้จ่าย
-
นำมาตราก่อน อนุโลมกับการก่อสร้างซึ่งติดที่ดินและเพาะปลูก
ม.1314
1310 1311 1313 บังคับถึงการก่อสร้างซึ่งติดกับที่ดินและการเพาะปลูก
-
สิทธิผู้ซื้อทรัพย์สินโดยสุจริตในท้องตลาด
ม.1332
ซื้อทรัพย์สินโดยสุจริตในการขายทอดตลาด ท้องตลาด ผู้ค้าขายของชนิดนั้น, ไม่ต้องคืนให้เจ้าของ เว้นแต่เจ้าของชดใช้ราคา
-
กรรมสิทธิ์
ม.1336
เจ้าของทรัพย์ ใช้สอย จำหน่าย ได้ดอกผล ติดตามเอาคืนจากผู้ไม่มีสิทธิยึดถือ ขัดขวางไม่ให้ผู้อื่นสอด
-
ข้อจำกัดสิทธิ
ม.1338
ข้อจำกัดสิทธิของเจ้าของอสังหา ซึ่งกฎหมายกำหนด ไม่ต้องจดทะเบียน
ข้อจำกัดจะถอน และทำให้หย่อนลงโดยนิติกรรมไม่ได้ นอกจากทำเป็นหนังสือและจดทะเบียน
ข้อจำกัดเกี่ยวกับสาธารณประโยชน์ จะถอนแก้ให้หย่อนลงไม่ได้
-
ทางจำเป็น
ม.1349
ที่ดินมีที่ดินแปลงอื่นล้อมอยู่ ไม่มีทางออกถึงทางสาธารณะ, ผ่านทีดินแปลงที่ล้อมได้
มีทางออก ข้ามสระบึง ทะเล ทางชันมาก ใช้ วรรคหนึ่ง
วิธีทำทางผ่าน ต้องเลือกให้สมควรแก่ความจำเป็น
ถ้าจำเป็นจะสร้างถนนก็ได้ ผู้มีสิทธิผ่านต้องใช้ค่าทดแทน
-
ข้อสันนิษฐานกรรมสิทธิรวม
ม.1357
มีส่วนเท่ากัน
-
การจัดการทรัพย์สินของเจ้าของรวม
ม.1358
เจ้าของรวมมีสิทธิจัดการทรัพย์สินรวมกัน
จัดการตามธรรมดาเสียงข้างมาก, เจ้าของรวมคนหนึ่ง จัดการตามธรรมดาได้ เว้นแต่ฝ่ายข้างมากตกลงเป็นอย่างอื่น แต่คนหนึ่งทำการเพื่อรักษาทรัพย์สินได้เสมอ
จัดการอันเป็นสาระสำคัญ ตกลงโดยเสียงข้างมาก มีส่วนไม่ต่ำกว่าครึ่งหนึ่งแห่งค่าทรัพย์สิน
ปป วัตถุประสงค์ต้องยินยอมทุกคน
-
ใช้สิทธิของเจ้าของรวมต่อบุคคลภายนอก
ม.1359
เจ้าของรวมคนหนึ่ง ใช้สิทธิอันเกิดจากกรรมสิทธิทั้งหมด สู้บุคคลภายนอก, การเรียกทรัพย์คืน อยู่ใต้ ม.302
-
สิทธิใช้ทรัพย์สินของเจ้าของรวม
ม.1360
คนหนึ่งมีสิทธิใช้ทรัพย์สินได้แต่ต้องไม่ขัดสิทธิ...
มีสิทธิได้ดอกผลตามส่วนของตน
-
สิทธิจำหน่าย จำนอง ของเจ้าของรวม
ม.1361
จำหน่ายส่วนของตน, จำนำ จำนอง ก่อภาระติดพันได้
แต่ตัวทรัพย์จะจำนำ จำนอง ก่อให้เกิดภาระ ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมทุกคน
ทำไปโดยไม่ได้รับความยินยอม, แต่ภายหลังเป็นเจ้าของคนเดียว นิติกรรมนั้นสมบูรณ์
-
สิทธิครอบครอง
ม.1367
เจตนายึดถือเพื่อตน ได้สิทธิครอบครอง
-
ข้อสันนิษฐานการยึดถือ
ม.1369
ยึดถือทรัพย์สินไว้ สันนิษฐานว่ายึดถือเพื่อตน
-
ข้อสันนิษฐานว่ามีสิทธิตามกฎหมาย
ม.1372
สิทธิผู้ครอบครองใช้ในทรัพย์ที่ครอบครอง สันนิษฐานว่าเป็นสิทธิตามกฎหมาย
-
ข้อสันนิษฐานผู้มีชื่อในทะเบียน
ม.1373
อสังหาที่ได้จด, ผู้มีชื่อในทะเบียน สันนิษฐานว่ามีสิทธิครอบครอง
-
ผู้ครอบครองถูกรบกวนการครอบครอง
ม.1374
ถูกรบกวนการครอบครอง, มีผู้สอดเข้าเกี่ยวข้องโดยไม่ชอบ, มีสิทธิขอให้ปลดเปลื้อง สั่งห้าม
ฟ้องภายใน 1 ปีนับแต่เวลาถูกรบกวน
-
ผู้ครอบครองถูกแย่งการครอบครอง
ม.1375
ถูกแย่งการครอบครอง ฟ้องเรียกภายใน1ปี นับแต่เวลาถูกแย่ง เว้นแต่อีกฝ่ายมีสิทธิดีกว่า
-
การเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือ
ม.1381
ยึดถือในฐานะผู้แทนครอบครอง จะ ปป ลักษณะการยึดถือ บอกกล่าวไปยังผู้ครอบครองว่า ไม่เจตนายึดถือแทนอีกต่อไป หรือ ตนเองเป็นผู้ครองครองโดยสุจริตอาศัยอำนาจใหม่.....
-
ครอบครองปรปักษ์
ม.1382
สงบ เปิดเผย แสดงเจตนา
10, 5 ได้กรรมสิทธิ์
-
ภาระจำยอม
ม.1387
อสังหา อาจต้องอยู่ในภาระจำยอม, เป็นเหตุให้เจ้าของต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สิน งดเว้นการใช้สิทธิ เพื่อประโยชน์แก่อสังหาอื่น
-
ข้อห้ามสำหรับเจ้าของภารยทรัพย์
ม.1390
ห้ามเจ้าของภารยทรัพย์ทำการใดให้ภาระจำยอมประโยชน์ลดลง เสื่อมความสะดวก
-
สิทธิเจ้าของสามยทรัพย์
ม.1391
เจ้าของสามยทรัพย์ มีสิทธิทำการทุกอย่างที่จำเป็น เพื่อรักษาและใช้ภาระจำยอม
สามยทรัพย์ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพื่อรักษาซ่อมแซม ถ้าภารยทรัพย์ได้ประโยชน์ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วย
-
เจ้าของภารยทรัพย์เรียกให้ย้ายภาระจำยอมไปส่วนอื่น
ม.1392
เจ้าของอาจเรียกให้ย้ายไปที่อื่น, แสดงว่าการย้ายเป็นประโยชน์แก่ตนและเสียค่าใช้จ่าย แต่ต้องไม่ทำให้ความสะดวกสามยทรัพย์ลดลง
-
ภาระจำยอมหมดประโยชน์แก่สามยทรัพย์
ม.1400
ภาระจำยอมหมดประโยชน์ ย่อมสิ้นไป
ถ้ากลับมาใช้ ภาระจำยอมย่อมกลับมีขึ้นมา, ไม่พ้นอายุความ 10 ปี
ภาระจำยอมมีประโยชน์อยู่บ้าง แต่เมื่อเทียบกับภาระอันตกอยู่กับภารยทรัพย์แล้ว มีประโยชน์น้อย จะขอให้พ้นจากภาระจำยอมก็ได้ แต่ต้องใช้ค่าทดแทน
-
การได้ภาระจำยอมโดยอายุความ
ม.1401
ภาระจำยอมอาจได้มาโดยอายุความ
-
สิทธิเหนือพื้นดิน
ม.1410
เจ้าของที่ดินอาจให้บุคคลอื่นมีสิทธิเป็นเจ้าของโรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง เพาะปลูก บนดินใต้ดิน
|
|