-
ผู้เสียหาย
- ม.2(4)
- การกระทำผิดฐานใดฐานหนึ่งบุคคลที่มีอำนาจจัดการแทน ม. 4, 5, 6
-
คำร้องทุกข์
ม.2(7)
กล่าวต่อเจ้าหน้าที่, มีผู้กระทำผิดขึ้น, เจตนาให้รับโทษ
-
อำนาจจัดการแทนหญิงมีสามี
ม.4
หญิงมีสามีฟ้องคดีได้เอง
สามีฟ้องแทนได้, ชัดแจ้ง
-
ผู้มีอำนาจัดการแทน
ม.5
บุคคลจัดการแทนผู้เสียหาย
1 ผู้แทน, ซึ่งอยู่ในความดูแล
2 ผู้บุพ, ไม่สามารถจัดการเองได้
3 นิติ, ได้ทำลงแก่นิติ
-
ผู้แทนเฉพาะคดี
ม.6
ผู้เยาว์, ไม่มีผู้แทน, วิกล, คนไร้ไม่มีอนุบาล, ญาติหรือประโยชน์เกี่ยวข้อง, ไม่มีผู้ใดศาลตั้ง
-
สิทธิของผู้ถูกจับหรือผู้ต้องหา
ม.7/1
แจ้งญาติหรือคนไว้ใจทราบ, ถึงการถูกจับ, สถานที่ควบคุม, และมีสิทธิ
1 ทนาย
2 เข้าฟัง
3 เยี่ยม
4 พยาบาล
ตำรวจต้องแจ้ง
-
อำนาจสอบสวนกรณีความผิดเกิดขึ้นในท้องที่เดียว
ม.18
ในจังหวัดอื่นนอกจาก กทม, พนง.ฝ่ายปกครองหรือ รตต., มีอำนาจสอบสวน, เขตอำนาจ, มีที่อยู่, ถูกจับ
ใน กทม, รตต. ......
เขตอำนาจคนใด, เหตุจำเป็นและสะดวก, ท้องที่ที่อยู่, ถูกจับ
-
อำนาจสอบสวนกรณีความผิดเกิดขึ้นหลายท้องที่
ม.19
1 กระทำผิดท้องที่ใด
2 ส่วนหนึ่ง
3 ต่อเนื่อง
4 หลายกรรม
5 ผู้ต้องหาเดินทาง
6 ผู้เสียหายเดินทางที่เกี่ยวข้องมีอำนาจสอบ
- พนง.สอบ ผู้รับผิดชอบ
- ก.จับได้แล้ว, ท้องที่จับ
ข.ยังจับไม่ได้, พบการกระทำผิดก่อน
-
การสอบสวนกรณีความผิดเกิดนอกราชอาณาจักร
ม. 20
อัยการสูงสุด, มอบหมาย
มอบให้สอบสวน, ส่งอัยการร่วม
อัยการมีหน้าที่เช่นเดียวกับ พนง.สอบ
ให้พนง.สอบ ปฎิบัติตามคำแนะนำอัยการ
กรณีจำเป็น, ระหว่างรออัยการสูงสุด
1 ผู้ต้องหาถูกจับในเขต
2 รัฐบาลประเทศอื่น, ผู้เสียหาย ร้องฟ้อง
ส่งสำนวนไปอัยการสูงสุด
-
การชี้ขาดอำนาจพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
ม.21/1
ไม่แน่ว่าพนักงานสอบคนใด, จังหวัดเดียว, กองเดียว, ผู้บัญชาการเป็นผู้ชี้
การรอคำสั่งชี้, ไม่เป็นเหตุงด
-
เขตอำนาจศาล
ม.22
ความผิด เกิด, อ้าง, เชื่อ ในเขตศาลใด
แต่
1 จำเลยมีที่อยู่, ถูกจับ, ได้สอบสวนแล้ว, ชำระศาลนั้นก็ได้
2 เกิดนอกราชฯ, ศาลอาญา, สอบสวนที่เขตศาลใด
-
การโอนคดี
ม.23
ยื่นฟ้องต่อศาล, ความผิดไม่ได้เกิดในเขต, โจทก์หรือจำเลยร้องขอ
โจทก์ยื่นฟ้องศาลความผิดเกิด, สะดวก, อีกศาลที่มีเขตอำนาจ, แม้จำเลยคัดค้าน
-
เขตอำนาจศาลในความผิดหลายเรื่องเกี่ยวพันกัน
ม.24
เมื่อความผิดหลายเรื่องเกี่ยวพันกัน
1 หลายฐานคนเดียว, หลายคนเกี่ยวพัน
2 หลายฐาน, เจตนาเดียว
3 ช่วยพ้นโทษ
ฟ้องคดีทุกเรื่อง, ศาลที่อำนาจชำระอัตราโทษสูงกว่า
อย่างสูงเสมอกัน. รับฟ้องไว้ก่อน
-
การดำเนินคดีต่างผู้ตาย
ม.29
ผู้เสียหายยื่นฟ้องตายลง, ผู้บุพ, สืบ, สามีภริยา
ผสห. เป็นผู้เยาว์, วิกล, ไร้, ได้ยื่นฟ้องแทนแล้ว, ผู้ฟ้องแทนว่าคดีต่อ
-
การขอเข้าเป็นโจทก์ร่วมกับพนักงานอัยการ
ม.30
อัยการยื่นฟ้องแล้ว, ผสห.เข้าร่วม, ก่อนศชต พิพากษา
-
พนักงานอัยการขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม
ม.31
มิใช่ความผิดส่วนตัว, อัยการยื่นเข้าร่วม, ก่อนเด็ดขาด
-
ศาลสั่งรวมพิจารณาคดีที่พนักงานอัยการและผู้เสียหายต่างยื่นฟ้อง
ม.33
คดีเดียวกัน, อัยการและผสห ต่างยื่นฟ้อง, ศาลเดียวหรือต่างศาล, ศาลมีอำนาจรวม
ต้องได้รับความยินยอมอีกศาล
-
ถอนฟ้อง
ม.35
ถอนฟ้องคดีอาญา, ยื่นก่อนศชต พิพากษา, อนุญาตหรือไม่ก็ได้, ถ้ายื่นหลังจำเลยให้การ, ให้ถามจำเลยว่าค้านหรือไม่, ถ้าค้านยกคำร้อง
คดีความผิดต่อส่วนตัว, ถอนฟ้องและยอมความ, ก่อนคดีถึงที่สุด, ถ้าจำเลยค้านให้ยก
-
ผลของการถอนฟ้อง
ม.36
คดีอาญาถอนฟ้องแล้วนำมาฟ้องอีกไม่ได้
เว้น
1 อัยการยื่น, มิใช่ส่วนตัวแล้วถอน, ไม่ตัดสิทธิ
2 อัยการถอนความผิดส่วนตัว, ไม่มีหนังสือจากผู้เสียหาย
3 ผสห ยื่นฟ้องคดีอาญาแล้วถอน, ไม่ตัดสิทธิอัยการ, เว้นความผิดส่วนตัว
-
คดีอาญาเลิกกัน
ม.37
คดีอาญาเลิกกัน
1 ปรับสถานเดียว
2 ลหุโทษ, 1หมื่น, ชำระค่าปรับตาม พนง.สอบ เปรียบเทียบแล้ว
3 ลหุโทษ, 1หมื่น, ในกทม, สัญญาบัตร
4 เปรียบเทียบได้ตาม กม. อื่น
-
สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
ม.39
1 ตาย
2 ถอน
3 เลิก
4 เสร็จเด็ดขาด
5 กฎหมายภายหลัง
6 ขาดอายุความ
7 ยกเว้นโทษ
-
พนักงานอัยการเรียกทรัพย์สินแทนผู้เสียหาย
ม.43
ลักวิ่งชิงปล้นโจรกรรฉ้อยักรับ, ผสห. มีสิทธิเรียกทรัพย์หรือราคาที่สูญเสียเนื่องจากกระทำผิด, อัยการเรียกทรัพย์สินหรือราคาแทน
-
ผู้เสียหายขอเรียกค่าสินไหมทดแทน
ม.44/1
คดีที่อัยการเป็นโจทก์, ผสห.มีสิทธิได้รับค่าสินไหม, เพราะเหตุได้รับอันตรายแก่..., ความเสียหายทางทรัพย์จากการกระทำผิด, ผสห.ยื่นคำร้องต่อศาลขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหม
ยื่นคำร้องก่อนสืบ, ได้ไม่มีสืบก่อนชี้ขาด, แสดงรายละเอียด, ศาลสั่งแก้ได้
คำร้องไม่เกี่ยวกับการชดใช้ค่าสินไหมจากการกระทำผิดไม่ได้, ไม่ขัดหรือแย้งกับฟ้องของอัยการ, ถ้าอัยการดำเนินการตาม ม.43 แล้ว ผสห.จะยื่นคำร้องขอเรียกทรัพย์หรือราคาอีกไม่ได้
-
การพิพากษาคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
ม.46
จำต้องถือข้อเท็จจริง
-
การจับ
ม.78
จับโดยไม่มีหมายไม่ได้ เว้น
1 ซึ่งหน้า ตาม ม.80
2 พฤติการณ์อันควรสงสัย
3 มีเหตุออกหมายแต่มีความจำเป็นเร่งด่วน
4 หนีหรือจะหลบหนีในระหว่างปล่อยชั่วคราว
-
ราษฎรจับ
ม. 79
ราษฎรจับไม่ได้, ม.82, ความผิดซึ่งหน้าตามบัญชีท้ายประมวล
-
ความผิดซึ่งหน้า
ม. 80
กระทำ, สดๆ
ความผิดท้ายประมวลให้ถือเป็นความผิดซึ่งหน้าในกรณีดังต่อไปนี้
- 1 ถูกไล่จับดังผู้กระทำ
- 2 แทบจะทันทีหลังเกิดเหตุ, มีสิ่งของอาวุธ, ร่องรอยพิรุธประจักษ์
-
ขั้นตอนภายหลังจับตัวผู้กระทำผิด
ม.84
นำตัวผู้ถูกจับไปที่ทำการของ พนง.สอบ
1 กรณีเจ้าพนักงานจับให้แจ้งข้อหา
2 ราษฎรจับ, ให้ถามรายละเอียดผู้จับ, เพื่อแจ้งข้อหา, และแจ้งว่ามีสิทธิที่จะให้การหรือไม่ให้การก็ได้, ถ้อยคำของผู้ถูกจับอาจใช้
ตำรวจแจ้ง 7/1
พยาบาล
ถ้อยคำรับสารภาพห้ามฟัง, ถ้อยคำอื่นรับฟังได้ถ้าแจ้งสิทธิแล้วตาม วรรค 1 หรือ ม.83 วรรค2 แล้วแต่กรณี
-
การขอปล่อยตัวจากการคุมขังไม่ชอบ
ม.90
คุมขังในคดีอาญา, โดยมิชอบ, บุคคลต่อไปนี้ยื่นคำร้องต่อศาลท้องที่
1 ผู้ถูกคุมขัง
2 พนง.สอบสวน
3 อัยการ
4 ผู้บัญชาการเรือนจำ
5 สามี ภริยา หรือญาติ หรือบุคคลใดเพื่อประโยชน์ของผู้ถูกคุมขัง
ไต่สวนฝ่ายเดียว, เห็นว่ามีมูล, สั่งให้นำผู้ถูกคุมขังมาโดยพลัน, ถ้าแสดงให้พอใจไม่ได้, ปล่อยทันที
-
การค้น
ม.92
ห้ามค้นในที่รโหฐานโดยไม่มีหมายเว้นแต่ตำรวจเป็นผู้ค้น และในกรณี
1 มีพฤติการณ์แสดงว่ามีเหตุร้ายในที่รโหฐาน
2 ซึ่งหน้า
3 ซึ่งหน้าหนีเข้าไป
4 มีสิ่งของที่เป็นความผิด, ได้มา, มีไว้เพื่อกระทำผิด, เป็นหลักฐานพิสูจน์, มีเหตุควรเชื่อว่าหากเนิ่นช้าเพื่อรอหมายค้น, สิ่งของนั้นจะถูกโยกย้าย ทำลาย
5 เจ้าบ้าน, มีหมายจับหรือตาม78
-
การค้นบุคคลในที่สาธารณะสถาน
ม.93
ห้ามค้น, เว้นแต่ตำรวจมีเหตุอันควรสงสัย, เพื่อใช้, ซึ่งได้, มีไว้
-
การค้นในที่รโหฐาน
ม.102
ก่อนค้น, แสดงความบริสุทธิ์, ค้นต่อหน้าผู้ครอบครองสถานที่หรือบุคคลในครอบครัว, ถ้าหาไม่ได้ให้ค้นต่อหน้าบุคคล 2 คน
การค้นที่อยู่ของจำเลยที่ถูกคุมขังอยู่, ให้ค้นต่อหน้าผู้นั้นหรือผู้แทน, พยานหรือผู้แทน, ถ้าไม่มีให้ค้นต่อหน้าบุคคลในครอบครัวหรือพยานตามวรรคก่อน
สิ่งของใดที่ยึดต้องให้, ผู้ครอบครองสถานที่, บุคคลในครอบครัว, ผู้ต้องหา, จำเลย, ผู้แทนหรือพยาน, รับรองว่าถูกต้อง
|
|